วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553

งานนำเสนอโปรเจ็ก

























































































































ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 10



Facebook’s recent integration of facial recognition
software into their service resulted in mixed reviews
from users, as many were not happy as it wasn’t
always clear what photo was being tagged. The
company is now testing an alternative tagging
system which pops up notifications as you browse
through photo galleries.
แหล่งที่มา www.allfacebook.com

วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่9

Facebook
Facebook, the world's largest social network, announced in July 2010, that it had 500 million users around the world. The company has grown at a meteoric pace, doubling in size since 2009 and pushing international competitors aside. Its policies, more than those of any other company, are helping to define standards for privacy in the Internet age.

The company, founded in 2004 by a Harvard sophomore, Mark Zuckerberg, began life catering first to Harvard students and then to all high school and college students. It has since evolved into a broadly popular online destination used by both teenagers and adults of all ages. In country after country, Facebook is cementing itself as the leader and often displacing other social networks, much as it outflanked MySpace in the United States. http://topics.nytimes.com/
แหล่งที่มาhttp://topics.nytimes.com/

วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่8

ประวัติ facebook
4 กุมภาพันธ์ 2548 Mark Zuckerburg ได้เปิดตัวเว็บไซต์ facebook ซึ่งเป็นเว็บประเภท social network
ที่ตอนนั้น เปิดให้เข้าใช้เฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดเท่านั้น
และเว็บนี้ก็ดังขึ้นมาในชั่วพริบตา เพราะแค่เพียงเปิดตัวได้สองสัปดาห์
ครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด
ก็สมัครเป็นสมาชิก facebook เพื่อเข้าใช้งานกันอย่างล้นหลาม
และเมื่อทราบข่าวนี้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเขตบอสตั้นก็เริ่มมีความต้องการ
และอยากขอเข้าใช้งาน facebook บ้างเหมือนกัน
มาร์คจึงได้ชักชวนเพื่อของเค้าที่ชื่อ Dustin Moskowitz และ Christ Hughes
เพื่อช่วยกันสร้าง facebook และเพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจากนั้น facebook
จึงได้เพิ่มรายชื่อและสมาชิกของมหาวิทยาลัยอีก 30 กว่าแห่ง

ไอเดียเริ่มแรกในการตั้งชื่อ facebook
นั้นมาจากโรงเรียนเก่าในระดับมัธยมปลายของมาร์ค ที่ชื่อฟิลิปส์
เอ็กเซเตอร์ อะคาเดมี่ โดยที่โรงเรียนนี้
จะมีหนังสืออยู่หนึ่งเล่มที่ชื่อว่า The Exeter Face Book ซึ่งจะส่งต่อ ๆ
กันไปให้นักเรียนคนอื่น ๆ ได้รู้จักเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ซึ่ง face book
นี้จริง ๆ แล้วก็เป็นหนังสือเล่มหนึ่งเท่านั้น จนเมื่อวันหนึ่ง
มาร์คได้เปลี่ยนแปลงและนำมันเข้าสู่โลกของอินเทอร์เน็ต

เมื่อประสบความสำเร็จขนาดนี้ ทั้งมาร์ค ดัสติน และ ฮิวจ์
ได้ย้ายออกไปที่ Palo Alto ในช่วงฤดูร้อนและไปขอแบ่งเช่าอพาร์ทเมนท์
แห่งหนึ่ง หลังจากนั้นสองสัปดาห์ มาร์คได้เข้าไปคุยกับ ชอน ปาร์คเกอร์
(Sean Parker) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Napster จากนั้นไม่นาน
ปาร์คเกอร์ก็ย้ายเข้ามาร่วมทำงานกับมาร์คในอพาร์ตเมนท์
โดยปาร์คเกอร์ได้ช่วยแนะนำให้รู้จักกับนักลงทุนรายแรก ซึ่งก็คือ ปีเตอร์
ธีล (Peter Thiel) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Paypal และผู้บริหารของ The
Founders Fund โดยปีเตอร์ได้ลงทุนใน facebook เป็นจำนวนเงิน 500,000
เหรียญสหรัฐฯ

แหล่งที่มา www.bloggang.com/viewdiary

วันอังคารที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 7

เปิดใจชาว Facebook กับภารกิจรัก ‘ในหลวงในดวงใจ’

ความเห็น (0) By EZ Editor Bow, สิงหาคม 4, 2010 11:34 am
บนโลกไซเบอร์หลายคนอาจมองว่าหาความจริงใจได้ยากที่จะสร้างมิตรภาพได้อย่าง ยั่งยืน แต่สำหรับในสังคมออนไลน์กลุ่ม Facebook นั้นแสดงให้เห็นว่าพวกเขาเป็นคนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน และมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน นั่นก็คือการแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อในหลวง
เป็น เวลาหลายเดือนแล้วที่ชุมชนออนไลน์ในเว็บไซต์ยอดนิยมอย่าง Facebook (เฟซบุ๊ก) ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงออกทางสังคมอย่างตรงไปตรงมาเพียงเหตุผลเดียวก็ คือความจงรักภักดีที่มีต่อในหลวง วันนี้มีโอกาสได้ไปพบเจอกับกลุ่มคนออนไลน์เหล่านี้ในงานที่พวกเขาจัดขึ้น เพื่อการแสดงจุดยืนของตนเองที่งาน “ในหลวงในดวงใจ” เลยได้เข้าไปพูดคุยกับตัวแทนของกลุ่มก็คือคุณปีเตอร์ ซึ่งได้เล่าว่า Continue reading 'เปิดใจชาว Facebook กับภารกิจรัก ‘ในหลวงในดวงใจ’'»

แหล่งที่มา http://variety.eduzones.com/facebook/category/%e0%b8%82%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%a7-facebook/